วิชาฟิสิกส์

 

 คอร์สเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายวิชาฟิสิกส์ของโรงเรียนกวดวิชา Concept Apply

มีทั้งหมด 6 เล่ม  โดยระยะเวลาที่ใช้ในการเรียนแต่ละเล่มประมาณ 42 ชั่วโมง สำหรับน้อง ๆ ที่สนใจเรียนสามารถสมัครเรียนเดี่ยวหรือจับกลุ่มกับเพื่อน เพื่อขอเปิดคอร์สเรียนที่น้อง ๆ สนใจ 
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติ่มได้ที่เบอร์โทร  084-0274089

 
 
 
 
 
 
 
 
 

วิชาฟิสิกส์ระดับชั้น ม.4 ( เทอม 1 ) 

หัวข้อบรรยาย เล่ม 1  (เอกสารประกอบการสอนจำนวน 181  หน้า)

บทที่ 1. บทนำ 

1. ความรู้เบื้องต้น
2. หน่วยการวัดในระบบเอสไอ
3. คำอุปสรรค (prefixs)
4. การบันทึกผลการวัด
5. เลขนัยสำคัญ
6. ค่าความคลาดเคลื่อน
7. การรวมเวกเตอร์โดยวิธีเขียนรูป
8. การรวมเวกเตอร์โดยวิธีใช้สูตรคำนวณ
9. การแยกเวกเตอร์
10. ตะลุยโจทย์พื้นฐาน

  



 
บทที่ 2. การเคลื่อนที่ 


1. ปริมาณทางฟิสิกส์
2. ระยะทางและการกระจัด
3. อัตราเร็วและความเร็วเฉลี่ย
4. ความเร่ง
5. เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
6. แปรความหมายกราฟ
7. คำนวณกราฟ
8. การเคลื่อนที่เส้นตรงแนวราบ
9. 
การเคลื่อนที่เส้นตรงแนวดิ่ง
10. การเคลื่อนที่เส้นตรงบนพื้นเอียงผิวเกลี้ยง 
11. การเคลื่อนที่เส้นตรงบนพื้นเอียงผิวขรุขระ                
12. ตะลุยโจทย์พื้นฐาน                         

 

 



บทที่ 3. แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ 


1. แรง
2. มวลและความเฉื่อย
3. น้ำหนัก
4. กฎการเคลื่อนที่ข้อที่หนึ่งของนิวตัน
5. กฎการเคลื่อนที่ข้อที่สองของนิวตัน
6. กฎการเคลื่อนที่ข้อที่สามของนิวตัน
7. กฎแรงดึงดูดระหว่างมวลของนิวตัน
8. การประยุกต์กฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 2 ของนิวตัน
9. ตะลุยโจทย์พื้นฐาน

 

 

 

 



บทที่ 4. การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ


1. การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
2. 
การเคลื่อนที่แบบวงกลม
    -ดาวเทียม
    -การเลี้ยวโค้ง
4. 
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิก                                            
5. ตะลุยโจทย์พื้นฐาน

 

 

 

 

 

 



 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 

วิชาฟิสิกส์ระดับชั้น ม.4 ( เทอม 2 ) 

หัวข้อบรรยาย เล่ม 2  (เอกสารประกอบการสอนจำนวน 186  หน้า)
บทที่ 1.งานและพลังงาน  


1. งาน
2. งานและแรงคงตัว
3. งานกับผลต่างพลังงานจลน์
4. งานของแรงยืดหยุ่น
5. กราฟความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับการกระจัด
6. กำลังเฉลี่ย
7. พลังงานกล
8. ประสิทธิภาพของเครื่องกล
9. กฎการอนุรักษ์พลังงาน
10. 
ตะลุยโจทย์พื้นฐาน

 

 

 

บทที่ 2. โมเมนตัมและการดล


1. โมเมนตัม
2. การเปลี่ยนโมเมนตัม (การดล)
3. แรงดล
4. กราฟความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับเวลา
5. กฎการอนุรักษ์โมเมนตัม
6. การชนแนวตรงแบบไม่สูญเสียพลังงาน  (ชนแบบยืดหยุ่น)
7. 
การชนแนวเฉียงแบบไม่สูญเสียพลังงาน (ชนแบบยืดหยุ่น
8. 
การชนแบบสูญเสียพลังงาน (ชนแบบไม่ยืดหยุ่น)
9. ตะลุยโจทย์พื้นฐาน

 

 

 


 
บทที่ 3. การเคลื่อนที่แบบหมุน 


1. ความเร็วเชิงมุม
2. ความเร่งเชิงมุม
3. โมเมนต์ความเฉื่อย

4. ทอร์ก

5. ทอร์กและความเร่งเชิงมุม
6. โมเมนตัมเชิงมุม
7. ทอร์กและโมเมนตัมเชิงมุม
8. กฏการอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงมุม
9. พลังงานจลน์ของการหมุน
10. พลังงานจลน์ของการกลิ้ง
11. งานและกำลังของการหมุน
12. กฎการอนุรักษ์พลังงานกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
13. ตะลุยโจทย์พื้นฐาน

 

    
บทที่ 4. สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น


1. ความหมายสมดุล
2. สมดุลของแรง
3. จุดศูนย์กลางมวล

4. เสถียรภาพของสมดุล

5. โมเมนตัมของแรง (หรือทอร์ก)
6. โมเมนต์ของแรงคู่ควบ
7. แรงเสียดทาน
8. การได้เปรียบเชิงกล
9. การประยุกต์โจทย์สมดุล
10. สภาพยืดหยุ่นและสภาพพลาสติก
11. ขีดจำกัดแปรผันตรงและขีดจำกัดสภาพยืดหยุ่น                                
12. แรงเค้น
13. ความเค้น
14. ความเครียด
15. ค่ามอดูลัสความยืดหยุ่นของยัง
16. ตะลุยโจทย์พื้นฐาน




 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 

 

 

 

 

วิชาฟิสิกส์ระดับชั้น ม.5 ( เทอม 1 ) 

หัวข้อบรรยาย เล่ม 3  (เอกสารประกอบการสอนจำนวน 97  หน้า)

บทที่ 1. ของไหล 

1. ความดันในของเหลว
2. แรงดันในของเหลว
3. เครื่องมือวัดความดันของไหล
4. กฎของพาสคัลและเครื่องอัดไฮดรอลิก
5. แรงลอยตัวและหลักของอาร์คีมิดีส
6. แรงดึงผิวแลความตึงของเหลว
7. ความหนืดและแรงหนืดของเหลว
8. พลศาสตร์ของไหล
9. การประยุกต์สมการแบร์นูลี
10. 
ตะลุยโจทย์พื้นฐาน


 

   

                         

บทที่ 2. ความร้อนและทฤษฎีจลย์ของแก๊ส                                                                                    
ความร้อน

1. ความร้อนคืออะไร
2. อุณหภูมิคืออะไร
3. ความร้อนทำให้วัตถุเปลี่ยนอุณหภูมิ
4. 
ความร้อนทำให้วัตถุเปลี่ยนสถานะ
5. สมดุลความร้อน

ทฤษฎีจลย์ของแก๊ส

1. กฎของบอยล์
2. กฎของชาร์ล
3. กฎของแก๊ส
4. แบบจำลองแก๊สอุดมคติ

5. ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
6. อัตราเร็วของโมเลกุลแก๊ส            
7. พลังงานภายในระบบและการเปลี่ยนแปลงพลังงานภายในระบบ     
8. งานที่ทำให้ระบบเปลี่ยนแปลงปริมาตร
9. กฎของความร้อน
10. อุณหภูมิของแก๊สผสม

  






 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

  

 

 
    
 
 
 
 


 

วิชาฟิสิกส์ระดับชั้น ม.5 ( เทอม 2 ) 

หัวข้อบรรยาย เล่ม 4  (เอกสารประกอบการสอนจำนวน 316  หน้า)

บทที่ 1. คลื่นกล 

1. คลื่นและชนิดของคลื่น
2. การสั่นของอนุภาคตัวกลาง
3. ส่วนประกอบของคลื่นผิวน้ำ
4. อัตราเร็วของคลื่นผิวน้ำ
5. เฟสของคลื่น
6. สมบัติคลื่นและหน้าคลื่น
7. การสะท้อนของหน้าคลื่นผิวน้ำ
8. การรหักเหของคลื่นผิวน้ำ
9. การแทรกสอดของคลื่นผิวน้ำ
10. การเลี้ยวเบนของคลื่นผิวน้ำ
11. คลื่นนิ่งในเส้นเชือก เมื่อปลายสองข้างตรึงแน่น   
12. ตะลุยโจทย์พื้นฐาน

 

 

 

บทที่ 2. เสียง


1. เสียงเกิดขึ้นได้อย่างไร
2. ส่วนอัดและส่วนผสมของโมเลกุลอากาศ
3. อัตราเร็วแสงในตัวกลาง
4. การสะท้อนของเสียง
5. การหักเหเสียง
6. การแทรกสอดเสียง
7. การเลี้ยวเบนเสียง
8. ความเข้มเสียง
9. ระดับความเข้มเสียง

10. การสั่นพ้อง
11. ดอปเพลอร์              
12. คลื่นกระแทก
13. ตะลุยโจทย์พื้นฐาน

 

 

บทที่ 3. แสง


1. การเกิดภาพจากกระจกเงาราบ
2. 
การเกิดภาพจากกระจกโค้งนูน
3. 
การเกิดภาพกระจกโค้งเว้า
4. 
การเกิดภาพจากเลนส์เว้า
5. การเกิดภาพจากเลนส์นูน
6. ทัศนอุปกรณ์
7. อัตราเร็วแสง
8. การหักเหของแสง
9. ความลึกปรากฏ
10. ความสว่างของผิววัตถุ
11. ข้อบกพร่องของสายตาและวิธีแก้ไข                                           
12. สเปกตรัมแสงขาว
13. การมองเห็นสีของวัตถุ
14. แสงผ่านสลิตเดี่ยว
15. แสงผ่านสลิตคู่
16. แสงผ่านเกรตติง
17. การกระเจิงของแสง
18. โพลาไรเซชัน
19. ตะลุยโจทย์พื้นฐาน

  




 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 

 
 

วิชาฟิสิกส์ระดับชั้น ม.6 ( เทอม 1 ) 

หัวข้อบรรยาย เล่ม 5  (เอกสารประกอบการสอนจำนวน 248  หน้า)

บทที่ 1. ไฟฟ้าสถิต 

1. หลักพื้นฐานทางไฟฟ้าสถิต
2. แรงกระทำระหว่างประจุไฟฟ้า และกฎของคูลอมบ์
3. สนามไฟฟ้า
4. ศักย์ไฟฟ้า
5. ความ
ศักย์ไฟฟ้า
6. งานในการนำประจุไฟฟ้า
7. พลังงานศักย์ไฟฟ้ากับพลังงานจลน์
8. ความจุไฟฟ้า
9. พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ
10. ต่อตัวเก็บประจุแบบอนุกรม
11.
ต่อตัวเก็บประจุแบบขนาน 
12. ต่อตัวเก็บประจุแบบผสม
13. 
ต่อตัวเก็บประจุแบบบ่วง
14. ตะลุยโจทย์พื้นฐาน

บทที่ 2. ไฟฟ้ากระแสตรง

1. แหล่งกำเนิดไฟฟ้า
2. การนำกระแสไฟฟ้า
3. การคำนวณกระแสไฟฟ้า
4. กฎของโอห์มและความต้านทานไฟฟ้า
5. สภาพต้านทานไฟฟ้า
6. ต่อตัวต้านทานไฟฟ้า
7. ต่อเซลล์ไฟฟ้า
8. วงจรไฟฟ้าแบบง่าย
9. แกลวานอมิเตอร์

10. พลังงานไฟฟ้าและกำลังไฟฟ้า
11. การคิดเงินค่าไฟฟ้า           
12. วงจรไฟฟ้าในบ้าน
13. ตะลุยโจทย์พื้นฐาน

 



บทที่ 3. แม่เหล็กไฟฟ้า

1. แท่งแม่เหล็ก
2. สนามแม่เหล็กโลก
3. ฟลักซ์แม่เหล็ก
4. แรงแม่เหล็กกระทำต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าที่เคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็ก
5. 
แรงแม่เหล็กกระทำต่อลวดตรงที่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน
6. แรงกระทำระหว่างลวดขนานที่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน
7. โมเมนต์คู่ควบของขดลวดในสนามแม่เหล็ก
8. แรงเคลื่อนที่ไฟฟ้าต้านกลับของมอเตอร์
9. สนามแม่เหล็กเหนี่ยวนำ

10. กระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนำ
11. มอเตอร์และเครื่องกำเนิดไฟฟ้า
12. ไฟฟ้า 3 เฟส           
13. หม้อแปลงไฟฟ้ากระแสสลับ
14. ตะลุยโจทย์พื้นฐาน

บทที่ 4. ไฟฟ้ากระแสสลับ

1. ลักษณะไฟฟ้ากระแสสลับ
2. ค่ายังผลของกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ไฟฟ้า
3. ตัวต้านทานในวงจรกระแสสลับ
4. ตัวเหนี่ยวนำในวงจรกระแสสลับ
5. ตัวเก็บประจุในวงจรกระแสสลับ

6. วงจร RLC อนุกรม
7. 
วงจร RLC ขนาน
8. ความต้านทานเชิงซ้อน และกำลังไฟฟ้าเฉลี่ย
9. 
ตะลุยโจทย์พื้นฐาน

บทที่ 5. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

1. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคืออะไร
2. หลักพื้นฐานเกี่ยวกับประจุไฟฟ้า
3. ทฤษฎีเกี่ยวกับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์
4. การทดลองขดลวดเหนี่ยวนำของเฮิรตซ์
5. การเกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในสายอากาศ

6. สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
7. 
ตะลุยโจทย์พื้นฐาน






 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 




 

วิชาฟิสิกส์ระดับชั้น ม.6 ( เทอม 2 ) 

หัวข้อบรรยาย เล่ม 6  (เอกสารประกอบการสอนจำนวน 105  หน้า)

บทที่ 1. ฟิสิกส์อะตอม

1.  การทดลองรังสีแคโทดของทอมสัน
2.  การทดลองหยดน้ำมันของมิลลิแกน
3.  แบบจำลองอะตอมของทอมสัน
4.  แบบจำลองอะตอมของโบร์
5.  การทดลองของฟลังค์และเฮิตซ์
6.  รังสีเอ็กซ์
7.  ปรากฎการณ์โฟโตอิเล็กทริก
8.  
ปรากฎการณ์คอมป์ตัม
9.  สมมติฐานของเดอรบรอยล์
10. กลศาสตร์ควอนตัม
11.
ตะลุยโจทย์พื้นฐาน


 

     

บทที่ 2. ฟิสิกส์นิวเคลียร์


1. ธาตุกัมมันตรังสีและกัมมันตภาพรังสี                                                 
2. การค้นพบกับมันตภาพรังสี
3. ชนิดและสมบัติของกัมมันตภาพรังสี
4. สัญลักษณ์นิวเคลียส
5. การสลายตัวของนิวเคลียส
6. กฎการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี
7. การทดลองอุปมาอุปมัย การทอดลูกเต๋ากับการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี
8. ไอโซโทป
9. แรงนิวเคลียร์

10. รังสีนิวเคลียส
11. พลังงานยึดเหนี่ยว            
12. พลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออน
13. ปฏิกิริยานิวเคลียร์
14. ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชัน และฟิวชัน
15. ประโยชน์และโทษของกัมมันตถาพรังสี
16. ตะลุยโจทย์พื้นฐาน



 

 

 




 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 


ลำดับที่

หัวข้อบรรยายวิชาฟิสิกส์คอร์สติวสอบเข้ามหาวิทยาลัยของโรงเรียนกวดวิชา Concept Apply

 
 เวลา

 1การวัด  : คำอุปสรรค : เลขนัยสำคัญ : ความไม่แน่นอนของการวัด : การแปลงหน่วย1.5 ชม.
 2ทบทวนคณิตศาสตร์พื้นฐาน : พีทาโกรัส : ตรีโกณมิติ : การแก้ระบบสมการ : การหาความชัน 
การหาพื้นที่ : การแก้สมการกำลังสองโดยใช้สูตร
1.5 ชม. 
 3เวกเตอร์ : การรวมเวกเตอร์ : การแตกเวกเตอร์ : การคูณเวกเตอร์0.5 ชม. 
 4การเคลื่อนที่แนวตรง : ระยะทางและการกระจัด : อัตราเร็วและความเร็ว : ความเร่ง 
การเคลื่อนที่ในแนวราบและสูตรการคำนวณ : การเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง : การพิจารณากราฟ
กราฟ s-t : กราฟ v-t : กราฟ a-t : ความเร็วสัมพัทธ์
6 ชม. 
 5สมดุลกล : กฎข้อที่หนึ่งของนิวตัน : กฎข้อที่สองของนิวตัน : กฎข้อที่สามของนิวตัน  
น้ำหนัก : แรง N : แรงตึงเชือก : แรงเสียดทาน : การเขียนแรงที่กระทำต่อวัตถุ : 
การแตกแนวแรงเข้าแกน : หลักการคำนวณ : โมเมนต์ : วัตถุพอดีล้ม : การหาจุดศูนย์กลางมวล
7 ชม. 
 6สภาพยืดหยุ่น : กราฟแรงดึงและระยะยืด :  ความเค้น : ความเครียด : ค่ามอดูลัสของยัง 
กราฟความเค้นและความเครียด
3 ชม. 
 7กฎข้อที่สองของนิวตัน : หลักการคำนวณ :  การพิจารณาวัตถุหลายก้อน : วัตถุเคลื่อนที่ในแนวราบ
วัตถุเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง : วัตถุเคลื่อนบนพื้นเอียง : รอก
5 ชม.  
 8การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ : วิเคราะห์การเคลื่อนที่และการคำนวณ : รูปแแบบโจทย์3 ชม.  
 9การเคลื่อนที่แบบวงกลม : วิเคราะห์การเคลื่อนที่และการคำนวณ : วัตถุเคลื่อนที่แบบวงกลมในแนวราบ
วัตถุเคลื่อนที่แบบวงกลมในแนวดิ่ง : รถเข้าโค้ง : ปล่อยวัตถุเคลื่อนที่ในรางวงกลม
5 ชม.  
 10 แรงดึงดูดระหว่างมวล : ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก : การโคจรรอบโลกของดวงจันทร์และดาวเทียม
การโคจรรอบดวงอาทิตย์ของดาวเคราะห์
1.5 ชม.  
11การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิก :  วิเคราะห์ลูกตุ้มนาฬิกา : แรงดึงสปริง : การต่อสปริง  
วิเคราะห์สปริงติดมวล : 
สมการซิมเปิลฮาร์มอนิก
4 ชม.   
12 งานและพลังงาน : งาน : กราฟ F - S : กำลัง : พลังงานจลน์ : พลังงานศักย์โน้มถ่วง  
พลังงานศักย์ยืดหยุ่น : กฎการอนุรักษ์พลังงาน : เครื่องกล
6 ชม.   
13 โมเมนตัมและการดล : โมเมนตัม : การดล : การชนตรง : การชนเฉียง : ชนแบบยืดหยุ่น : ชนแบบไม่ยืดหยุ่น 6 ชม.  
14 การเคลื่อนที่แบบหมุน : วิเคราะห์การเคลื่อนที่ : ความสัมพันธ์สมการเชิงเส้นและเชิงมุม : โมเมนต์ความเฉื่อย
ทอร์ก : พลังงานของการหมุน : พลังงานของการกลิ้ง : โมเมนตัมเชิงมุม : กฎการอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงมุม
 6 ชม.   
15 ของไหล : ความหนาแน่นและความถ่วงจำเพาะ : ความดัน : แรงดันด้านข้าง : แรงดันที่ก้นภาชนะ
หลอดแก้วรูปตัวยู : เครื่องอัดไฮโดรลิก : แรงลอยตัว : อัตราการไหล : แบร์นูลี  
 6 ชม.  
16 ความร้อน : การหาปริมาณความร้อน : อุณหภูมิผสม : การเปลี่ยนรูปของพลังงานความร้อน3 ชม.
 17  แก๊ส  : กฎของแก๊ส : การรั่วของแก๊สในภาชนะปิด : การรั่วของแก๊สในภาชนะเปิด : 
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส : พลังงานจลน์เฉลี่ย : การผสมกันของแก๊ส
พลังงานภายในระบบ : กฎข้อที่หนึ่งของเทอร์โมไดนามิกส์
4 ชม. 
 18  คลื่นกล : ส่วนประกอบต่าง ๆ ของคลื่น : สูตรการคำนวณ : มุมเฟส : เทียบมุมกับระยะทาง : เทียบมุมกับเวลา
หน้าคลื่น : การสะท้อนของคลื่น : การหักเหของคลื่น : การแทรกสอด : การเลี้ยวเบน : คลื่นนิ่ง
 6 ชม.  
19 เสียง : อัตราเร็วของคลื่นเสียง : การสะท้อน : การหักเห : การแทรกสอด : การเลี้ยวเบน
ความเข้มเสียง : ระดับความเข้มเสียง : การเปรียบเทียบระดับความเข้มเสียง : บีตส์ : การสั่นพ้องของเสียง 
ปรากฏการณ์ดอปเปอร์ : คลื่นกระแทก
6 ชม. 
20แสง : ดัชนีการหักเห : การหักเหของแสง : ลึกจริงและลึกปรากฎ : กระจกเว้าและกระจกนูน 
เลนส์นูนและเลนส์เว้า : 
ความสว่าง : การแทรกสอดของแสงผ่านสลิตเดี่ยว  
การแทรกสอดของแสงผ่านสลิตคู่ : การแทรกสอดของแสงผ่านเกรตติง
7 ชม. 
21ไฟฟ้าสถิต : แรงดึงดูดระหว่างประจุ : สนามไฟฟ้า : แรงเนื่องจากสนามไฟฟ้า : ความเข้มสนามไฟฟ้า 
ศักย์ไฟฟ้า : สนามไฟฟ้วตัวนำทรงกลม
 : ศักย์ไฟฟ้วตัวนำทรงกลม : การหาประจุหลังจากตัวนำทรงกลมแตะกัน
ความจุไฟฟ้า : การต่อตัวเก็บประจุ : พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ
6 ชม. 
 22ไฟฟ้ากระแสตรง : กระแสไฟฟ้าในโลหะตัวนำ : กฎของโอห์ม : ความต้านทานของลวดตัวนำ : การต่อตัวต้านทาน
การต่อเซลล์ไฟฟ้าและความต้านทานภายในเซลล์ : วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย : พลังงานไฟฟ้าและกำลังไฟฟ้า
แอมมิเตอร์ : โวลต์มิเตอร์
6 ชม.  
 23แม่เหล็กไฟฟ้า : สมบัติของแม่เหล็ก : สนามแม่เหล็ก : แรงกระทำต่อประจุที่เคลื่อนในสนามแม่เหล็ก 
รูปแบบการเคลื่อนที่ของประจุในสนามแม่เหล็ก : แรงที่กระทำต่อเส้นลวดตัวนำเมื่อมีกระแสไหลผ่านในสนามแม่เหล็ก
การเกิดสนามแม่เหล็กเมื่อมีกระแสไหลผ่าน : แรงระหว่างลวดตรง 2 เส้น เมื่อมีกระแสไหลผ่าน 
โมเมนต์ของแรงคู่ควบ : แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำ : หม้อแปลง
6 ชม.  
 24 ไฟฟ้ากระแสสลับ : ลักษณะไฟฟ้ากระแสสลับ : ค่ายังผลของกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ไฟฟ้า
ตัวต้านทานในวงจรกระแสสลับ : ตัวเหนี่ยวนำในวงจรกระแสสลับ : ตัวเก็บประจุในวงจรกระแสสลับ

วงจร RLC อนุกรม : 
วงจร RLC ขนาน : ความต้านทานเชิงซ้อน และกำลังไฟฟ้าเฉลี่ย 
6 ชม.  
 25ฟิสิกส์อะตอม : การทดลองรังสีแคโทดของทอมสัน : การทดลองหยดน้ำมันของมิลลิแกน
แบบจำลองอะตอมของทอมสัน : แบบจำลองอะตอมของโบร์ : การทดลองของฟลังค์และเฮิตซ์
รังสีเอ็กซ์ : ปรากฎการณ์โฟโตอิเล็กทริก : 
ปรากฎการณ์คอมป์ตัม : สมมติฐานของเดอรบรอยล์ 
กลศาสตร์ควอนตัม
4 ชม.   
26ฟิสิกส์นิวเคลียร์ : ธาตุกัมมันตรังสีและกัมมันตภาพรังสี  : การค้นพบกับมันตภาพรังสี

ชนิดและสมบัติของกัมมันตภาพรังสี : สัญลักษณ์นิวเคลียส : การสลายตัวของนิวเคลียส
กฎการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี : การทดลองอุปมาอุปมัย : การทอดลูกเต๋ากับการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี
ไอโซโทป : แรงนิวเคลียร์ : 
รังสีนิวเคลียส : พลังงานยึดเหนี่ยว : พลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออน
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ : ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชัน และฟิวชัน : 
ประโยชน์และโทษของกัมมันตถาพรังสี 

4 ชม.